July 20, Colombo: The Election Secretariat of country declared these days that 3 international organizations are going to be invited to watch the approaching election of the 3 provincial councils.
South Asian Association of Regional Cooperation (SAARC), Commonwealth, and also the Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) square measure the 3 organizations which will be invited to watch the polls for Northern, Central and North Western provincial councils.
However, Election Secretariat sources say that it's nonetheless to be determined if these organizations square measure deployed in watching all 3 Provincial Council elections.
The Election Commissioner has determined to debate with the political parties and also the freelance teams concerning the election watching when the nominations square measure accepted.
Sources near election watching NGOs say they welcome the move of the govt to deploy monitors for the Gregorian calendar month elections.
วันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันพฤหัสบดีที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
หลักสำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง
- พอมีพอกิน
- พออยู่พอใช้
- พออกพอใจ
[V] have enough to get by, Ant. ขัดสน, Example: เราควรอยู่อย่างสมถะ ไม่ฟุ้งเฟ้อเห่อเหิม พอมีพอกิน และทำงานด้วยความขยันอดทน, Thai definition: มีฐานะปานกลาง
“...การจะเป็นเสือนั้นไม่สำคัญ สำคัญอยู่ที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกินแบบพอมีพอกินนั้น หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตัวเอง...พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
...ความพอเพียงนี้ ไม่ได้หมายความว่า ทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัว จะต้องทอผ้าใส่เอง อย่างนั้นมันเกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอำเภอจะต้องมีความพอเพียงพอสมควร บางสิ่งบางอย่างที่ผลิตได้มากกว่าความต้องการก็ขายได้ แต่ขายในที่ไม่ห่างไกลเท่าไหร่ ไม่ต้องเสียค่าขนส่งมากนัก อย่างนี้ท่านนักเศรษฐกิจต่าง ๆ ก็มาบอกว่าล้าสมัยจริงอาจจะล้าสมัย คนอื่นเขาต้องมีการเศรษฐกิจที่ต้องมีการแลกเปลี่ยน เรียกว่า เป็นเศรษฐกิจการค้าไม่ใช่เศรษฐกิจความพอเพียง เลยรู้สึกว่าไม่หรูหราแต่เมืองไทยเป็นประเทศที่มีบุญอยู่ว่าผลิตให้พอเพียงได้...
...ถ้าสามารถที่จะเปลี่ยนไป ทำให้กลับเป็นเศรษฐกิจแบบพอเพียงไม่ต้องทั้งหมดแม้แต่ครึ่งก็ไม่ต้อง อาจจะสักเศษหนึ่งส่วนสี่ ก็จะสามารถอยู่ได้ การแก้ไขอาจจะต้องใช้เวลา ไม่ใช่ง่าย ๆ โดยมากคนก็ใจร้อนเพราะเดือดร้อน แต่ถ้าทำตั้งแต่เดี๋ยวนี้ก็สามารถที่จะแก้ไขได้...”
พระราชทานเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต
วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๐
2. พออยู่พอใช้
พออยู่ คือ การที่เราปลูกป่าที่ให้ไม้ พืช ที่จำเป็นต่อการนำมาใช้ทำ ที่อยู่อาศัยต่างๆ เช่น ไม้ทำเสา ไม้ทำพื้น ไม้ทำฝา ไม้ทำโครงสร้างบ้านต่างๆ เป็นต้น ครั้นเมื่อเหลือใช้ เราก็แบ่งจ่ายแจก ขาย เป็นรายได้เสริมให้ครอบครัวได้
พอใช้ คือ การปลูกป่าให้มีพืชที่เราจะต้องใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ยา ขนม ผลไม้ เครื่องปรุง เป็นต้น ครั้นเมื่อเราใช้ได้อย่างพอเพียงแล้ว เราก็แบ่งออกขายหารายได้แก่ครอบครัวได้
3. พออกพอใจ
เราต้องรู้จักพอรู้จัก ประมาณตนไม่ใช่อยากใคร่มีเหมือนผู้อื่น เพราะเราจะหลงติดไปกับวัตถุวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิตของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วัฒนธรรม หรือวิถีชีวิตของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีหลักปฏิบัติตนอยู่ ๕ ประการคือ
๑.มีชีวิตที่เรียบง่ายยึดความประหยัดตัดตอนค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นลดละความฟุ่มเฟือย ในการดำรงชีพ
๒. ยึดทางสายกลางรู้จักพอดี พอเพียงพอประมาณ และพอใจ
๓.มีความเมตตาเอื้ออาทรต่อกันร่วมกันและช่วยเหลือกันไม่เบียดเบียนกันไม่มุ่งทำร้า ยกัน
๔.ประกอบอาชีพด้วยความขยันหมั่นเพียรซื่อสัตย์สุจริตใฝ่หาความรู้เพื่อนำมาใช้ให้เกิ ดประโยชน์
๕.ให้สามารถพึ่งตนเอง ได้สามารถพออยู่พอกินไม่เดือดร้อนไม่ตกเป็นทาสทางวัตถุนิ
ยมปรัชญาเศรษฐกิจตามวิถีพุทธปรัชญาเศรษฐกิจตาม วิถีพุทธคือเศรษฐกิจมัชฌิมาเพื่อพัฒ นาคุณภาพชีวิตและการไม่เบียดเบียนกันพระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตโต)กล่าวว่า เศรษฐศาส ตร์แนวพุทธคือเศรษฐศาสตร์สายกลางหรือเศรษฐศาสตร์มัชฌิมาปฏิปทา เนื่องด้วยมีระบบ ชีวิตหรือวิถีชีวิตในพระพุทธศาสนาที่เรียกว่า มรรคนั้นก็มีชื่ออยู่ชัดๆแล้วว่ามัชฌิมาปฏิปทา เช่นสัมมาอาชีวะและสัมมาอื่นๆคือความถูกต้องและความพอดี ความเป็นมัชฌิมาคือความ เป็นกลางๆ เป็นความพอดีนั้นเองในทรรศนะดังกล่าวนี้ได้เสนอความเห็นให้พิจารณาว่าความ
จำเริญทางเศรษฐกิจหรือความมั่งคั่งนั้นมีอยู่และเป็นไปเพื่ออะไรกันแน่ถ้าหากมิใช่เป็นไปเพื่อ การเพิ่มพูนคุณภาพแห่งชีวิตของประชาชนแล้วก็ไม่น่าจะถือได้ว่าเป็นความเจริญ รุ่งเรืองและ ความมั่งคั่งแท้จริงหลักพุทธธรรมหรือหลักการของปรัชญาเศรษฐกิจตามวิถีพุทธ
SME policy promoted AEC 31 Dec 15
SME Chamber of Commerce announced a delayed opening and the AEC proposes to 31 Dec 58 for language acquisition.
Mr. Atts extensively varnish survey readiness. And understanding of the manufacturing sector. Thailand and the service sector. To compete in the ASEAN Economic Community (AEC) in 2555 found that the availability of the operator Thailand, especially entrepreneurs, SME understands and is ready to compete in AEC increased but remained unlikely. satisfied. Crops, livestock and construction business group also do not understand about 90 percent higher by the AEC, the operator has no understanding. The dissemination of information about AEC does not cover units to provide a clear understanding and 96 percent agreed if they would have postponed the launch of the ASEAN Economic Community on 1 January 2558 as the date. 31 Dec 2558 by in the meantime. To accelerate the development of greater understanding. Workforce skills development. And support the development of the language to be more with
Source: www.innnews.co.th.
วันศุกร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2556
ประกาศเปิดประชาคมอาเซียน 31 ธ.ค. 58 อย่างเป็นทางการ
สมาคมอาเซียนได้ประชุมเลื่อนเลื่อนเปิด ACE อย่างเป็นทางการ เป็นวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ด้วยเหตุข้อตกลงหลาย ๆ อย่างยังไม่สามารถตกลงกันได้
ได้มีรายงานว่า ในการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน ครั้งที่ 21 ที่กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา เมื่อวันที่ 18-20 พฤศจิกายน 2556 ที่ผ่านมานั้น ทางผู้นำชาติอาเซียน ได้ตัดสินใจประกาศเลื่อนกำหนดการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community) จากเดิมคือวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เป็นเปิดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
สำหรับสาเหตุที่ต้องเลื่อนเปิด ACE ออกไปนั้น เป็นเพราะข้อตกลงและขั้นตอนต่าง ๆ อีกหลายขั้นตอน ที่สามารถตกลงกันได้ ยกตัวอย่างเช่น เรื่องการตรวจลงตรา ภาษีอาการสินค้า กฎระเบียบว่าด้วยการลงทุนระหว่างกัน เป็นต้น แม้ว่าการดำเนินการของประเทศต่าง ๆ ตามพิมพ์เขียว จะคืบหน้าไปพอสมควรแล้วก็ตาม
นอกจากนี้ ผู้นำของบางประเทศ ก็ยังมีความกังวลอยู่ว่า หากเปิดเออีซี อาจจะทำให้ประเทศได้รับผลกระทบ โดยเฉพาะเรื่องของปัญหาต่าง ๆ ที่มีลักษณะการข้ามชาติ (transnational problem) รวมทั้งอีกหลายเรื่องที่ต้องจัดการให้แล้วเสร็จก่อนเปิด ACE ฉะนั้นผู้นำอาเซียนจึงมีความคิดเห็นว่า ควรเลื่อนเปิด ACE ออกไปก่อนจะดีที่สุด
วันอาทิตย์ที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2556
สกุลเงินอาเซียน และสกุลเงินสมาชิกอาเซียน
เรียบเรียงข้อมูลโดยกระปุ
ขอขอบคุณภาพประกอบจาก aseancorner
ในปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทย และเพื่อนสมาชิกอีก 9 ประเทศในกลุ่มอาเซียนจะถือเป็นตลาดเดียวกันเช่นเดียวสหภาพยุโรป เนื่องจากเกิดการรวมตัวกันเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ดังนั้น เราในฐานะประชาชนคนหนึ่งของประคมอาเซียนจึงจำเป็นต้องรู้เรื่องต่าง ๆ ในประเทศสมาชิก ซึ่ง สกุลเงิน ที่ใช้เป็นอีกเรื่องที่เราจำเป็นต้องรู้
สำหรับ สกุลเงินที่ใช้กันในหมู่ของประเทศสมาชิกอาเซียน ทางประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ยังไม่มีแนวคิดที่จะใช้เงินสกุลเดียวกันเหมือนกับประชาคมยุโรป เนื่องจากหวั่นเกรงว่าจะประสบปัญหาวิกฤติหนี้สาธารณะและเศรษฐกิจยุโรปที่ เกิดขึ้นในสหภาพยุโรป โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่กรีซและสเปน ซึ่งกำลังเป็นที่จับตามองไปทั่วโลกอยู่ในขณะนี้ โดยปัญหาที่เกิดขึ้นมีต้นตอมาจากการใช้สกุลเงินร่วมกัน (สกุลเงินยูโร) นั่นเอง
ส่วนประเทศสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศ ใช้สกุลเงินดังนี้
1. บรูไน ดารุสซาลาม
ใช้สกุลเงิน ดอลล่าร์บรูไน
อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลล่าร์บรูไน = 25.10 บาท
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 ดอลล่าร์บรูไน, 5 ดอลล่าร์บรูไน, 10 ดอลล่าร์บรูไน, 20 ดอลล่าร์บรูไน, 25 ดอลล่าร์บรูไน, 50 ดอลล่าร์บรูไน, 100 ดอลล่าร์บรูไน, 500 ดอลล่าร์บรูไน, 1,000 ดอลล่าร์บรูไน และ 10,000 ดอลล่าร์บรูไน
2. ราชอาณาจักรกัมพูชา
ใช้สกุลเงิน เรียล
อัตราแลกเปลี่ยน 150 เรียล = 1 บาท
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 50 เรียล, 100 เรียล, 500 เรียล, 1,000 เรียล, 2,000 เรียล, 5,000 เรียล, 10,000 เรียล, 20,000 เรียล, 50,000 เรียล และ 100,000 เรียล
3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
ใช้สกุลเงิน รูเปียห์
อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 รูเปียห์ = 3.95 บาท
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1,000 รูเปียห์, 2,000 รูเปียห์, 5,000 รูเปียห์, 10,000 รูเปียห์, 20,000 รูเปียห์, 50,000 รูเปียห์ และ 100,000 รูเปียห์
4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ใช้สกุลเงิน กีบ
อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 กีบ = 4.05 บาท
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 500 กีบ, 1,000 กีบ, 2,000 กีบ, 5,000 กีบ, 10,000 กีบ, 20,000 กีบ และ 50,000 กีบ
5. มาเลเซีย
ใช้สกุลเงิน ริงกิต
อัตราแลกเปลี่ยน 1 ริงกิตมาเลเซีย = 10.40 บาท
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 ริงกิต, 5 ริงกิต, 10 ริงกิต, 20 ริงกิต, 50 ริงกิต และ 100 ริงกิต
6. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า
ใช้สกุลเงิน จ๊าด
อัตราแลกเปลี่ยน 1 จ๊าด = 5 บาทไทย
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 จ๊าด, 5 จ๊าด, 10 จ๊าด, 20 จ๊าด, 50 จ๊าด, 100 จ๊าด, 200 จ๊าด, 500 จ๊าด, 1,000 จ๊าด, 5,000 จ๊าด และ 10,000 จ๊าด
7. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
ใช้สกุลเงิน เปโซ
อัตราแลกเปลี่ยน 1.40 เปโซ = 0.78 บาท
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 20 เปโซ, 50 เปโซ, 100 เปโซ, 200 เปโซ, 500 เปโซ และ 1,000 เปโซ
8. สาธารณรัฐสิงคโปร์
ใช้สกุลเงิน ดอลล่าร์สิงค์โปร์
อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลล่าร์สิงคโปร์ = 24.40 บาท
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 2 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 5 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 10 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 50 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 100 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 1,000 ดอลล่าร์สิงค์โปร์ และ 10,000 ดอลล่าร์สิงค์โปร์
9. ราชอาณาจักรไทย
ใช้สกุลเงิน บาท
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 20 บาท, 50 บาท, 100 บาท, 500 บาท และ 1,000 บาท
10. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
ใช้สกุลเงิน ด่ง
อัตราแลกเปลี่ยน 900 ด่ง = 1.64 บาทไทย
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 100 ด่ง, 200 ด่ง, 500 ด่ง, 1,000 ด่ง, 2,000 ด่ง, 5,000 ด่ง, 10,000 ด่ง, 20,000 ด่ง, 50,000 ด่ง, 100,000 ด่ง, 200,000 ด่ง และ 500,000 ด่ง
หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ.2555 โดยอัตราแลกเปลี่ยนข้างต้นเป็นประมาณการซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละวัน
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมจาก
dtn.go.th
วันอาทิตย์ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2556
ASEAN สะกิด Librarian อย่างไร
การก้าวเข้าสู่ประชาคม ASEAN เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของห้องสมุด และเป็นสิ่งที่ Librarian ควรศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อการปรับศักยภาพการทำงาน หรืออีกนัยหนึ่งเป็นการปรับสมรรถนะในการทำงานนั่นเอง สิ่งที่ควรรู้โดยสรุป ประกอบด้วย
1. AUNILO – เครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัย อาเซียน ASEAN University Network (AUN) หรือ เครือข่าย มหาวิทยาลัยอาเซียน เป็นเครือข่ายของมหาวิทยาลัยของกลุ่มประเทศ อาเซียน เมื่อแรกก่อตั้ง ในปี ค.ศ.1995 มีสมาชิก 6 ประเทศ ๆ ละ 2
มหาวิทยาลัย สำหรับประเทศไทย คือ มหาวิทยาลัยบูรพา และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อมาได้ขยายเพิ่มขึ้น อีก 2 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จุดเน้นที่สาคัญของ AUN คือ การนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้เพื่อการศึกษาและเพื่อการสร้างเครือข่ายสารสนเทศสาหรับสมาชิกของ AUN รวมทั้งมีการแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกันในรูปแบบของการฝึกอบรม การสัมมนาเชิงปฏิบัติการทางวิชาการ เพื่อการร่วมกันสร้างแนวปฏิบัติที่ดีในการทำงาน (best practice)
1. AUNILO – เครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัย อาเซียน ASEAN University Network (AUN) หรือ เครือข่าย มหาวิทยาลัยอาเซียน เป็นเครือข่ายของมหาวิทยาลัยของกลุ่มประเทศ อาเซียน เมื่อแรกก่อตั้ง ในปี ค.ศ.1995 มีสมาชิก 6 ประเทศ ๆ ละ 2
มหาวิทยาลัย สำหรับประเทศไทย คือ มหาวิทยาลัยบูรพา และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อมาได้ขยายเพิ่มขึ้น อีก 2 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จุดเน้นที่สาคัญของ AUN คือ การนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้เพื่อการศึกษาและเพื่อการสร้างเครือข่ายสารสนเทศสาหรับสมาชิกของ AUN รวมทั้งมีการแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกันในรูปแบบของการฝึกอบรม การสัมมนาเชิงปฏิบัติการทางวิชาการ เพื่อการร่วมกันสร้างแนวปฏิบัติที่ดีในการทำงาน (best practice)
2. การพัฒนาสมรรถนะของบรรณารักษ์
บรรณารักษ์เคยถามตัวเองหรือไม่ว่าต้องเตรียมตัวอย่างไร ความรู้และทักษะอะไรบ้างที่ควรมีเพิ่มขึ้น นอกเหนือจากทักษะทางบรรณา รักษศาสตร์แบบดั้งเดิม เช่น บรรณารักษ์ในงานบริการก็ต้องมีความรู้และทักษะการบริการตอบคาถามและช่วยการค้นคว้า การสืบค้นสารสนเทศ เป็นต้น
เรามาสร้างสิ่งเหล่านี้เพิ่มเติมกันดีไหม
•ทักษะวิชาที่เพิ่มคุณค่า หมายถึง ทักษะการวิจัย ทักษะการสังเคราะห์ และประมวลผลสารสนเทศสำหรับสนับสนุนงานและการตัดสินใจของผู้รับบริการ
•ทักษะที่ไม่เกี่ยวโดยตรงกับสายงาน (Soft skills) ซึ่งเป็นทักษะทั่วไป โดยเฉพาะทักษะด้านการสื่อสาร การจัดการ ภาวะผู้นำ การสอน การฝึกอบรม และการสร้างทีม ความสามารถในการเข้าใจผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ รวมทั้งความสามารถในการปรับเปลี่ยน และความเต็มใจทำงานหลากหลายขึ้น
•ทักษะด้านภาษาอังกฤษสำหรับการสื่อสาร เมื่อดูแล้ว จะเห็นว่าเป็นสิ่งจำเป็นเพราะภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการของอาเซียน ในขณะที่ประเทศไทยไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ ดังนั้น บรรณารักษ์บางคนอาจประสบปัญหาในเรื่องนี้ ทำให้ต้องมีการเพิ่มพูนทักษะและพัฒนาศักยภาพ โดยสามารถเลือกอ่าน ฝึกทักษะการสื่อสารจากสื่อการศึกษาที่ให้บริการในห้องสมุด ของใกล้ตัวทั้งนั้น
เมื่อบรรณารักษ์สามารถทำได้ ต่อไปเราจะเป็นบรรณารักษ์ข้ามชาติได้เลยทีเดียว
บรรณารักษ์เคยถามตัวเองหรือไม่ว่าต้องเตรียมตัวอย่างไร ความรู้และทักษะอะไรบ้างที่ควรมีเพิ่มขึ้น นอกเหนือจากทักษะทางบรรณา รักษศาสตร์แบบดั้งเดิม เช่น บรรณารักษ์ในงานบริการก็ต้องมีความรู้และทักษะการบริการตอบคาถามและช่วยการค้นคว้า การสืบค้นสารสนเทศ เป็นต้น
เรามาสร้างสิ่งเหล่านี้เพิ่มเติมกันดีไหม
•ทักษะวิชาที่เพิ่มคุณค่า หมายถึง ทักษะการวิจัย ทักษะการสังเคราะห์ และประมวลผลสารสนเทศสำหรับสนับสนุนงานและการตัดสินใจของผู้รับบริการ
•ทักษะที่ไม่เกี่ยวโดยตรงกับสายงาน (Soft skills) ซึ่งเป็นทักษะทั่วไป โดยเฉพาะทักษะด้านการสื่อสาร การจัดการ ภาวะผู้นำ การสอน การฝึกอบรม และการสร้างทีม ความสามารถในการเข้าใจผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ รวมทั้งความสามารถในการปรับเปลี่ยน และความเต็มใจทำงานหลากหลายขึ้น
•ทักษะด้านภาษาอังกฤษสำหรับการสื่อสาร เมื่อดูแล้ว จะเห็นว่าเป็นสิ่งจำเป็นเพราะภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการของอาเซียน ในขณะที่ประเทศไทยไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ ดังนั้น บรรณารักษ์บางคนอาจประสบปัญหาในเรื่องนี้ ทำให้ต้องมีการเพิ่มพูนทักษะและพัฒนาศักยภาพ โดยสามารถเลือกอ่าน ฝึกทักษะการสื่อสารจากสื่อการศึกษาที่ให้บริการในห้องสมุด ของใกล้ตัวทั้งนั้น
เมื่อบรรณารักษ์สามารถทำได้ ต่อไปเราจะเป็นบรรณารักษ์ข้ามชาติได้เลยทีเดียว
ที่มา http://library.stou.ac.th/blog/?p=2367
ป้ายกำกับ:
ไทย,
วันอาเซียน,
สมาคมอาเซียน,
อาเซียน,
Asean
วันจันทร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
มีทั้งหมด 7 ยุทธศาสตร์คือ
- การสร้างฐานการผลิตให้เข้มแข็ง สมดุล อย่างสร้างสรรค์
- การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการผลิต การค้า การลงทุน
- การพัฒนาคุณภาพคน ทั้งความรู้คู่คุณธรรม
- สังคม มั่นคงเป็นธรรม มีพลังและเอื้ออาทร
- เน้นการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- มีความมั่นคงของพลังงานและอาหาร
- เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องการเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งสอดคล้องกับการเป็นประชาคมอาเซียน
มี 3 ด้านด้วยกัน คือ
- ประชาคมความมั่นคงอาเซียน มีวัตถุประสงค์ที่จะทำให้ประเทศในภูมิภาคอยู่อย่างสันติสุข แก้ไขปัญหาภายในภูมิภาคโดยสันติวิธี และยึดมั่นในหลักความมั่นคงรอบด้าน
- ประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาผสมผสานร่วมกับจุดแข็งในสังคมไทยเช่นเชื่อมโยงกับวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น เปิดโอกาสการค้าบริการในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็ง เช่น
ท่องเที่ยว โรงแรมและภัตตาคาร สุขภาพ ฯลฯ - ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน - การคมนาคมขนส่งเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็นประโยชน์กับประชาชนอย่างแท้จริง
- การพัฒนาเทคโนโลยีไปสู่เศรษฐกิจยุคใหม่ เป็นปัจจัยการผลักดันให้เกิดเศรษฐกิจยุคใหม่ ไปกับการผสมผสานกับเทคโนโลยียุคใหม่ เข้ากับความคิดสร้างสรรค์และความรู้เหมาะสกลายเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจมากกว่าการใช้เทคโนโลยีเช่นเครื่องจักร
ไทยกับอาเซียน
ประเทศไทยเป็นหนึ่งใน 5 ของสมาชิกผู้ก่อตั้งและเป็นจุดกำเนิดของอาเซียน ไทยมีบทบาทอย่างแข็งขันในกิจกรรมของอาเซียนตลอดมา รวมทั้งยังมีส่วนผลักดันให้อาเซียนมีโครงการความร่วมมือในด้านต่างๆ ที่ทันการณ์และสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ระหว่างประเทศ อาทิ การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน การประชุมอาเซียนว่าด้วยความ ร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในขณะเดียวกันอาเซียนก็มีความสำคัญต่อประเทศไทยโดยนอกจากจะสร้างพันธมิตรและความเป็นปึกแผ่น ตลอดจนเสถียรภาพและสันติภาพในภูมิภาคแล้ว ยังช่วยเพิ่มอำนาจต่อรองในการเจรจาระหว่างประเทศ และร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาข้ามชาติ และการพัฒนาขั้นพื้นฐานต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรม นอกจากนั้น ความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมภายในอาเซียนได้เปิดโอกาสให้มีการขยายตัวด้านการค้าและการลงทุนในประเทศไทยมากขึ้น ซึ่งนำผลดีมาสู่เศรษฐกิจของประเทศไทยและของประเทศสมาชิกอาเซียนโดยส่วนรวม
ความสัมพันธ์กับประเทศไทย
- ประเทศไทยได้รับสิทธิพิเศษทางด้านการค้า ด้วยการได้ลดหย่อนอัตราภาษีศุลกากร
- ด้านอุตสาหกรรม ไทยได้รับสิทธิในการผลิตเกลือหิน และโซดาแอช ตัวถังรถยนต์
- ด้านการธนาคาร จัดตั้งบรรษัทการเงินของอาเซียน จัดตั้งคณะกรรมาธิการว่าด้วยการประกันภัยแห่งอาเซียน
- ด้านการเกษตร การสำรองอาหารเพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โครงการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โครงการปลูกป่า
- ด้านการเมือง สมาชิกของอาเซียนช่วยแบ่งเบาภาระของประเทศไทยเกี่ยวกับปัญหาผู้อพยพ
- ด้านวัฒนธรรม มีโครงการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างประเทศสมาชิก ทำให้แต่ละประเทศมีความเข้าใจดีต่อกัน
- มีส่วนร่วมในกระบวนการสันติภาพในกัมพูชา
- การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area) ในปี พ.ศ. 2535
- ความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเซีย-แปซิฟิก หรือ ARF- ASEAN Regional Forum ซึ่งเป็นเวทีที่ใช้พูดคุยปัญหาความมั่นคงในภูมิภาค ในปี พ.ศ. 2537
- ความริเริ่มเชียงใหม่และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อบรรเทาผลกระทบจากวิกฤตการณ์ทางการเงินในปี พ.ศ. 2540
การก่อตั้งในช่วงนั้นเกิดขึ้นท่ามกลางความคุกกรุ่นของสงครามเย็นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างประเทศมหาอำนาจในโลกเสรีประชาธิปไตยและคอมมิวนิสต์ ท่ามกลางความหวาดวิตกของประเทศในโลกเสรีประชาธิปไตยอย่างสหรัฐอเมริกาที่หวั่นเกรงถึงการแพร่ขยายของแนวคิดคอมมิวนิสต์ของรัสเซียและจีนที่จะครอบคลุมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตามทฤษฎีโดมิโน
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาอาเซียนได้มีบทบาทสำคัญในการแก้ไขปัญหาสำคัญในภูมิภาคนี้ เช่น กรณีเวียดนามรุกรานกัมพูชาเมื่อเดือนธันวาคม 1978 (พ.ศ.2521) โดยอาเซียนได้ปฏิเสธความชอบธรรมของรัฐบาลในพนมเปญที่ตั้งคณะรัฐบาลด้วยการยึดครองของกองทัพเวียดนาม พร้อมกับเรียกร้องให้เวียดนามถอนทหารออกจากกัมพูชาในเดือนกันยายน 1989 (พ.ศ.2532) หรือการก่อตั้งการประชุมอาเซียนว่าด้วยการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก หรือเออาร์เอฟ ภายหลังความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในกัมพูชาในปี 1993 (พ.ศ.2536) เพื่อให้เป็นเวทีที่ขยายกว้างขึ้นในการหารือประเด็นเรื่องความมั่นคง
ส่วนในประเด็นเศรษฐกิจ อาเซียนได้มีการบรรลุข้อตกลงในการก่อตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (อาฟต้า) จากการประชุมสุดยอดที่สิงคโปร์ในปีเดียวกัน และหลังจากนั้นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ก็ได้กำหนดวิสัยทัศน์อาเซียน 2020 ที่จะให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความมั่นคง มั่งคั่ง และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆ ได้ โดยมุ่งให้เกิดการไหลเวียนอย่างเสรีของสินค้า การบริการ การลงทุน เงินทุน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ และการลดปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ำทางสังคมภายในปี 2020 (พ.ศ.2563) พร้อมมุ่งที่จะจัดตั้งให้อาเซียนเป็นตลาดเดียวและเป็นฐานการผลิต โดยจะริเริ่มกลไกและมาตรการใหม่ๆ ในการปฏิบัติตามข้อริเริ่มทางเศรษฐกิจที่มีอยู่แล้ว และให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซียน อันได้แก่ กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม หรือ CLMV เพื่อลดช่องว่างของระดับการพัฒนา และช่วยให้ประเทศเหล่านี้เข้าร่วมในกระบวนการรวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน ตลอดจนส่งเสริมความร่วมมือในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหภาค ตลาดการเงิน และตลาดเงินทุน การประกันภัยและภาษีอากร การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการคมนาคม กรอบความร่วมมือด้านกฎหมาย การพัฒนาความร่วมมือด้านการเกษตร พลังงาน การท่องเที่ยว การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยการยกระดับการศึกษาและการพัฒนาฝีมือ
การประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน (ASEAN Summit) ครั้งที่ 4 ปี 2535 (ค.ศ. 1992) ได้เป็นจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงว่าด้วยการส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียน
- มีการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area – AFTA) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนในฐานะที่เป็นฐานการผลิตที่สำคัญเพื่อป้อนสินค้าสู่ตลาดโลก
- โดยอาศัยการเปิดเสรีด้านการค้าและการลดภาษีและอุปสรรคข้อกีดขวางทางการค้าที่มิใช่ภาษี รวมทั้งการปรับเปลี่ยนโครงสร้างภาษีศุลกากรเพื่อเอื้ออำนวยต่อการค้าเสรี
ตั้งแต่ปี 2540 (ค.ศ. 1997) อาเซียนได้เสริมสร้างความแข็งแกร่งของความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการเงิน โดยได้มีการแถลง ASEAN Vision 2020 ซึ่งต่อมาได้กำหนดให้มีการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community – AEC) ภายในปี 2563 (ค.ศ. 2020) รวมทั้งได้ริเริ่มการประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอาเซียน (ASEAN Finance Ministers’ Meeting – AFMM)1/ และความร่วมมือกับประเทศจีน ญี่ปุ่น และเกาหลี
ในช่วงการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน ครั้งที่ 13 ที่สิงคโปร์ ผู้นำอาเซียนยังได้ให้การรับรองกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดตั้งกรอบทางสถาบันและกฎหมายสำหรับอาเซียนในการเป็นองค์กรระหว่างประเทศชั้นนำในภูมิภาค โดยกฎบัตรอาเซียนจะมีผลบังคับใช้หลังประเทศสมาชิกทุกประเทศให้สัตยาบัน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC คืออะไร
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations : ASEAN) หรือ ประชาคมอาเซียน เป็นเป้าหมายการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ประกอบด้วย ไทย พม่า ลาว เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ กัมพูชา และ บรูไน เพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองและขีดความสามารถการแข่งขันของอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศ รวมถึงให้อาเซียนมีความแข็งแกร่ง มีภูมิต้านทานที่ดี ในการรับมือกับปัญหาใหม่ ๆ ระดับโลก
ประชาคมอาเซียน เปรียบกับการเป็นครอบครัวเดียวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน ถือกำเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2546 พร้อมกับมีการร่วมลงนามในปฏิญญาให้เป็นประชาคมเดียวกันให้สำเร็จภายใน พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) พร้อมกับมีการแบ่งประชาคมย่อยออกเป็น 3 ประชาคม หรือ 3 เสาหลัก ได้แก่
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community – APSC)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economics Community – AEC)
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (Asean Socio-Cultural Community – ASCC)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คืออะไร หรือ AEC คืออะไร หลายคนอาจจะยังสงสัย วันนี้เราจะพาไปทำความรู้จักกับคำว่า ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC กันค่ะ
ความเป็นมาพอสังเขป
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) เกิดขึ้นมาจากการพัฒนาสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) เนื่องจากสมาชิกอาเซียนเห็นว่า ปัจจุบันอาเซียนมีจำนวนประเทศ 10 ประเทศ ประชากรเกือบ 500 ล้านคน ดังนั้นถือว่าเป็นเศรษฐกิจภูมิภาคขนาดใหญ่ จึงควรร่วมมือกัน เพื่อทำให้อาเซียนมีความเข้มแข็งในด้านต่าง ๆ มากขึ้น เหตุนี้เอง อาเซียนจึงกลายสภาพเป็น เออีซี ในที่สุด โดยจะก่อตั้งเออีซีอย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 2558 เลื่อนเข้ามาจากเดิมคือ พ.ศ. 2563
อย่างไรก็ตาม อนาคตข้างหน้า เออีซีมีแนวโน้มขยายเป็น อาเซียน +3 คือ เพิ่ม จีน เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น ก่อนที่จะเป็น อาเซียน +6 โดยเพิ่ม จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดีย
ความเป็นมาพอสังเขป
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) เกิดขึ้นมาจากการพัฒนาสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) เนื่องจากสมาชิกอาเซียนเห็นว่า ปัจจุบันอาเซียนมีจำนวนประเทศ 10 ประเทศ ประชากรเกือบ 500 ล้านคน ดังนั้นถือว่าเป็นเศรษฐกิจภูมิภาคขนาดใหญ่ จึงควรร่วมมือกัน เพื่อทำให้อาเซียนมีความเข้มแข็งในด้านต่าง ๆ มากขึ้น เหตุนี้เอง อาเซียนจึงกลายสภาพเป็น เออีซี ในที่สุด โดยจะก่อตั้งเออีซีอย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 2558 เลื่อนเข้ามาจากเดิมคือ พ.ศ. 2563
อย่างไรก็ตาม อนาคตข้างหน้า เออีซีมีแนวโน้มขยายเป็น อาเซียน +3 คือ เพิ่ม จีน เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น ก่อนที่จะเป็น อาเซียน +6 โดยเพิ่ม จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดีย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC)
AEC หรือ ASEAN Economic Community ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เป็นเป้าหมายการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียนเพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองกับคู่ค้า และเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจระดับโลก รวมถึงมีการยกเว้นภาษีสินค้าบางชนิดให้กับประเทศสมาชิก ส่งเสริมให้ภูมิภาคมีความเจริญมั่งคั่ง มั่นคง ประชาชนอยู่ดีกินดี
โดยในการประชุมสุดยอดอาเซียน ASEAN Summit ครั้งที่ 8 เมื่อ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ที่ได้เห็นชอบให้อาเซียนกำหนดทิศทาง ได้มีการดำเนินงานที่แน่ชัดเพื่อนำไปสู่เป้าหมายที่ชัดเจน ได้แก่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยจะมีตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน และจะมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรีสำหรับการตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนได้กำหนดให้สำเร็จภายในปี พ.ศ. 2558 ( ค.ศ. 2015)
เป้าหมายสำคัญของ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC มี 4 ด้าน คือ
1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน (Single Market and Production Base)
เพื่อเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ ลงทุน แรงงานฝีมือ เงินทุน อย่างเสรี
ส่วนนี้ จริงๆ เป็นการดำเนินตามพันธกรณีที่ได้ตกลงและดำเนินการมากันอยู่แล้ว ทั้ง
* AFTA (ASEAN Free Trade Area) เริ่มปี 2535 (1992)
* AFAS (ASEAN Framework Agreement on Services) กรอบความตกลงว่าด้วยการค้าบริการ ลงนามปี 2538 (1995) ได้เจรจาเปิดเสรีเป็นรอบๆ เจรจาไปแล้ว 5 รอบ
* AIA (ASEAN Investment Area) กรอบความตกลงว่าด้วยการค้าบริการ ลงนามและมีผลตั้งแต่ 2541 (1998)
2. สร้างขีดความสามามารถทางเศรษฐกิจ (High Competitive Economic Region)
ให้ความสำคัญกับประเด็นด้านนโยบาย ที่ช่วยการรวมกลุ่ม เช่น นโยบายการแข่งขัน นโยบายภาษี , ทรัพย์สินทางปัญญา, พัฒนาโครงการสร้างพื้นฐาน
ร่วมกันดำเนินการโดยแลกเปลี่ยนข้อมูล ฝึกอบรมบุคคลากรร่วมกัน
3. สร้างความเท่าเทียมในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Equitable Economic Development)
สนับสนุนการพัฒนา SMES
สร้างขีดความสามารถผ่านโครงการที่มีอยู่แล้ว
4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก (Fully Integrated into Global Economy)
เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจอาเซียนกับนอกภูมิภาค เช่น ทำ FTA
กรอบความร่วมมือ
สำหรับกรอบความร่วมมือ ที่ประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเศรษฐกิจอาเซียนเมื่อวันที่ 21-22 กันยายน 2547 ที่กรุงเทพฯ สามารถหาข้อสรุปในสาระสำคัญเกี่ยวกับมาตรการร่วมที่จะใช้กับการรวมกลุ่มสินค้าและบริการ ได้แก่ การเปิดเสรีการค้าสินค้า การค้าบริการ การลงทุน การอำนวยความสะดวกด้านการค้า และการลงทุนและการส่งเสริมการค้าและการลงทุน และความร่วมมือในด้านอื่น ๆ ดังนี้
(1) การค้าสินค้า - จะเร่งลดภาษีสินค้าใน Priority Sectors (เกษตร/ประมง/ผลิตภัณฑ์ไม้/ผลิตภัณฑ์ยาง/สิ่งทอ/ยานยนต์ /อิเล็กทรอนิกส์/เทคโนโลยีสารสนเทศ/สาขาสุขภาพ) เป็น 0% เร็วขึ้นจากกรอบ AFTA เดิม 3 ปี คือ จาก 2010 เป็นปี 2007 สำหรับสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ และ ปี 2015 เป็น 2012 สำหรับประเทศ CLMV โดยได้กำหนดเพดานสำหรับสินค้าทั้งหมดใน Priority Sectors ไม่ต้องการเร่งลดภาษี (Negative List) ไว้ที่ 15%
(2) การค้าบริการ - จะเร่งเปิดเสรีสาขาบริการใน Priority Sectors (สาขาสุขภาพ, e-ASEAN, ท่องเที่ยวและการขนส่งทางอากาศ) ภายในปี ค.ศ. 2010 ทั้งนี้ ให้ใช้ ASEAN-X formula ได้
(3) การลงทุน - จะเร่งเปิดการลงทุนในรายการสงวน (Sensitive List) ภายในปี 2010 สำหรับอาเซียนเดิม 6 ประเทศ ปี ค.ศ. 2013 สำหรับเวียดนามและ 2015 สำหรับกัมพูชา ลาว และพม่า ทั้งนี้ ให้ใช้ ASEAN-X formula ได้ และส่งเสริมการผลิตในอาเซียนโดยการจัดตั้งเครือข่าย ASEAN free trade zones เพื่อส่งเสริมการซื้อวัตถุดิบและชิ้นส่วนที่ผลิตในอาเซียน (outsourcing) และดำเนินมาตรการร่วมเพื่อดึงดูด FDI
(4) การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการลงทุน - ซึ่งประกอบด้วยเรื่องต่างๆ คือ กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า พิธีการศุลกากร มาตรฐาน (standard and conformance) การอำนวยความสะดวกด้านการขนส่ง และ logistics service สำหรับการขนส่ง การอำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยวในอาเซียน และ การเคลื่อนย้ายของนักธุรกิจ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ประกอบวิชาชีพ และ แรงงานมีฝีมือ
(5) การส่งเสริมการค้าและการลงทุน และความร่วมมือในด้านอื่น ๆ เช่น ทรัพย์สินทางปัญญา ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรม และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ พิธีสารว่าด้วยการรวมกลุ่มรายสาขาของอาเซียน 11 สาขากำหนดมาตรการร่วม ซึ่งคาบเกี่ยวกับทุกสาขาเช่นเดียวกับในกรอบความตกลงฯ และมาตรการเฉพาะสำหรับการรวมกลุ่มแต่ละสาขานั้นๆ โดยรวมอยู่ในแผนการรวมกลุ่ม (Road map) ซึ่งผนวกอยู่กับพิธีสารฯ
ขณะที่ เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 ผู้นำอาเซียนได้ลงนามในกรอบความตกลงว่าด้วยการรวมกลุ่มสาขาสำคัญของอาเซียน (Framework Agreement for the Integration of the Priority Sectors) และรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนได้ลงนามในพิธีสารว่าด้วยการรวมกลุ่มรายสาขาของ อาเซียน 11 ฉบับ (ASEAN Sectoral Integration Protocol) ในวันที่ 29 พฤศจิกายน 2547 ในช่วงการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 10 ที่เวียงจันทน์ ระหว่างวันที่ 29-30 พฤศจิกายน 2547
ทั้งนี้ ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 10 ทุกประเทศย้ำความสำคัญของการดำเนินการต่างๆ เพื่อนำไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนภายในปี 2563 (ค.ศ. 2020) ซึ่ง ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ได้ชี้ให้เห็นถึงความจำเป็นที่จะต้องเร่งรัดการรวมตัวของอาเซียนให้เร็ว ขึ้น โดยอาจให้สำเร็จภายในปี 2555 (ค.ศ. 2012) และได้เสนอแนวทางต่างๆ เพื่อช่วยเร่งรัดการรวมตัว เช่น การใช้วิธีการ Two plus X ซึ่ง ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีได้เคยเสนอความจำเป็น และแนวทางนี้มาแล้วเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2546 ระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ที่บาหลี สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ทั้งนี้ นายกรัฐมนตรีสิงคโปร์ ก็ได้สนับสนุนข้อเสนอแนะของ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีของไทย ที่ให้เร่งรัดการจัดตั้ง AEC ด้วย
การรวมกลุ่มสินค้าและบริการ 11 สาขานำร่อง
การรวมกลุ่มสินค้าและบริการ 11 สาขานำร่อง ถือว่าเป็นการเปิดเสรีด้านการค้าและบริการ เพื่อส่งเสริมการแบ่งงานกันผลิตสินค้าและบริการภายในอาเซียนด้วยกัน โดยจะเน้นใช้วัตถุดิบภายในอาเซียนเป็นหลัก ตามความถนัด เนื่องจากแต่ละประเทศมีวัตถุดิบที่ไม่เหมือนกัน ถ้าจะให้ผลิตทุกอย่าง จะเป็นการเพิ่มต้นทุนสินค้าแบบเสียเปล่า
สำหรับ 11 สาขานำร่องมีดังนี้
1. สาขาผลิตภัณฑ์เกษตร
2. สาขาประมง
3. สาขาผลิตภัณฑ์ยาง
4. สาขาสิ่งทอ
5. สาขายานยนต์
6. สาขาผลิตภัณฑ์ไม้
7. สาขาอิเล็กทรอนิกส์
8. สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
9. สาขาสุขภาพ
10. สาขาท่องเที่ยว
11. สาขาการบิน
อย่างไรก็ตาม ภายหลังได้เพิ่มสาขาที่ 12 ได้แก่ สาขาโลจิสติกส์ เพื่อทำให้การขนส่งวัตถุดิบต่าง ๆ ทำได้สะดวกมากขึ้น
เมื่อแบ่งทั้ง 12 สาขา ตามประเทศที่รับผิดชอบ สามารถแบ่งได้ ดังนี้
1. พม่า สาขาผลิตภัณฑ์เกษตร และสาขาประมง
2. มาเลเซีย สาขาผลิตภัณฑ์ยาง และสาขาสิ่งทอ
3. อินโดนีเซีย สาขายานยนต์ และสาขาผลิตภัณฑ์ไม้
4. ฟิลิปปินส์ สาขาอิเล็กทรอนิกส์
5. สิงคโปร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาสุขภาพ
6. ไทย สาขาการท่องเที่ยวและสาขาการบิน
7. เวียดนาม สาขาโลจิสติกส์
กรอบความร่วมมือ
สำหรับกรอบความร่วมมือ ที่ประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเศรษฐกิจอาเซียนเมื่อวันที่ 21-22 กันยายน 2547 ที่กรุงเทพฯ สามารถหาข้อสรุปในสาระสำคัญเกี่ยวกับมาตรการร่วมที่จะใช้กับการรวมกลุ่มสินค้าและบริการ ได้แก่ การเปิดเสรีการค้าสินค้า การค้าบริการ การลงทุน การอำนวยความสะดวกด้านการค้า และการลงทุนและการส่งเสริมการค้าและการลงทุน และความร่วมมือในด้านอื่น ๆ ดังนี้
(1) การค้าสินค้า - จะเร่งลดภาษีสินค้าใน Priority Sectors (เกษตร/ประมง/ผลิตภัณฑ์ไม้/ผลิตภัณฑ์ยาง/สิ่งทอ/ยานยนต์ /อิเล็กทรอนิกส์/เทคโนโลยีสารสนเทศ/สาขาสุขภาพ) เป็น 0% เร็วขึ้นจากกรอบ AFTA เดิม 3 ปี คือ จาก 2010 เป็นปี 2007 สำหรับสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ และ ปี 2015 เป็น 2012 สำหรับประเทศ CLMV โดยได้กำหนดเพดานสำหรับสินค้าทั้งหมดใน Priority Sectors ไม่ต้องการเร่งลดภาษี (Negative List) ไว้ที่ 15%
(2) การค้าบริการ - จะเร่งเปิดเสรีสาขาบริการใน Priority Sectors (สาขาสุขภาพ, e-ASEAN, ท่องเที่ยวและการขนส่งทางอากาศ) ภายในปี ค.ศ. 2010 ทั้งนี้ ให้ใช้ ASEAN-X formula ได้
(3) การลงทุน - จะเร่งเปิดการลงทุนในรายการสงวน (Sensitive List) ภายในปี 2010 สำหรับอาเซียนเดิม 6 ประเทศ ปี ค.ศ. 2013 สำหรับเวียดนามและ 2015 สำหรับกัมพูชา ลาว และพม่า ทั้งนี้ ให้ใช้ ASEAN-X formula ได้ และส่งเสริมการผลิตในอาเซียนโดยการจัดตั้งเครือข่าย ASEAN free trade zones เพื่อส่งเสริมการซื้อวัตถุดิบและชิ้นส่วนที่ผลิตในอาเซียน (outsourcing) และดำเนินมาตรการร่วมเพื่อดึงดูด FDI
(4) การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการลงทุน - ซึ่งประกอบด้วยเรื่องต่างๆ คือ กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า พิธีการศุลกากร มาตรฐาน (standard and conformance) การอำนวยความสะดวกด้านการขนส่ง และ logistics service สำหรับการขนส่ง การอำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยวในอาเซียน และ การเคลื่อนย้ายของนักธุรกิจ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ประกอบวิชาชีพ และ แรงงานมีฝีมือ
(5) การส่งเสริมการค้าและการลงทุน และความร่วมมือในด้านอื่น ๆ เช่น ทรัพย์สินทางปัญญา ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรม และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ พิธีสารว่าด้วยการรวมกลุ่มรายสาขาของอาเซียน 11 สาขากำหนดมาตรการร่วม ซึ่งคาบเกี่ยวกับทุกสาขาเช่นเดียวกับในกรอบความตกลงฯ และมาตรการเฉพาะสำหรับการรวมกลุ่มแต่ละสาขานั้นๆ โดยรวมอยู่ในแผนการรวมกลุ่ม (Road map) ซึ่งผนวกอยู่กับพิธีสารฯ
ขณะที่ เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 ผู้นำอาเซียนได้ลงนามในกรอบความตกลงว่าด้วยการรวมกลุ่มสาขาสำคัญของอาเซียน (Framework Agreement for the Integration of the Priority Sectors) และรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนได้ลงนามในพิธีสารว่าด้วยการรวมกลุ่มรายสาขาของ อาเซียน 11 ฉบับ (ASEAN Sectoral Integration Protocol) ในวันที่ 29 พฤศจิกายน 2547 ในช่วงการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 10 ที่เวียงจันทน์ ระหว่างวันที่ 29-30 พฤศจิกายน 2547
ทั้งนี้ ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 10 ทุกประเทศย้ำความสำคัญของการดำเนินการต่างๆ เพื่อนำไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนภายในปี 2563 (ค.ศ. 2020) ซึ่ง ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ได้ชี้ให้เห็นถึงความจำเป็นที่จะต้องเร่งรัดการรวมตัวของอาเซียนให้เร็ว ขึ้น โดยอาจให้สำเร็จภายในปี 2555 (ค.ศ. 2012) และได้เสนอแนวทางต่างๆ เพื่อช่วยเร่งรัดการรวมตัว เช่น การใช้วิธีการ Two plus X ซึ่ง ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีได้เคยเสนอความจำเป็น และแนวทางนี้มาแล้วเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2546 ระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ที่บาหลี สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ทั้งนี้ นายกรัฐมนตรีสิงคโปร์ ก็ได้สนับสนุนข้อเสนอแนะของ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีของไทย ที่ให้เร่งรัดการจัดตั้ง AEC ด้วย
การรวมกลุ่มสินค้าและบริการ 11 สาขานำร่อง
การรวมกลุ่มสินค้าและบริการ 11 สาขานำร่อง ถือว่าเป็นการเปิดเสรีด้านการค้าและบริการ เพื่อส่งเสริมการแบ่งงานกันผลิตสินค้าและบริการภายในอาเซียนด้วยกัน โดยจะเน้นใช้วัตถุดิบภายในอาเซียนเป็นหลัก ตามความถนัด เนื่องจากแต่ละประเทศมีวัตถุดิบที่ไม่เหมือนกัน ถ้าจะให้ผลิตทุกอย่าง จะเป็นการเพิ่มต้นทุนสินค้าแบบเสียเปล่า
สำหรับ 11 สาขานำร่องมีดังนี้
1. สาขาผลิตภัณฑ์เกษตร
2. สาขาประมง
3. สาขาผลิตภัณฑ์ยาง
4. สาขาสิ่งทอ
5. สาขายานยนต์
6. สาขาผลิตภัณฑ์ไม้
7. สาขาอิเล็กทรอนิกส์
8. สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
9. สาขาสุขภาพ
10. สาขาท่องเที่ยว
11. สาขาการบิน
อย่างไรก็ตาม ภายหลังได้เพิ่มสาขาที่ 12 ได้แก่ สาขาโลจิสติกส์ เพื่อทำให้การขนส่งวัตถุดิบต่าง ๆ ทำได้สะดวกมากขึ้น
เมื่อแบ่งทั้ง 12 สาขา ตามประเทศที่รับผิดชอบ สามารถแบ่งได้ ดังนี้
1. พม่า สาขาผลิตภัณฑ์เกษตร และสาขาประมง
2. มาเลเซีย สาขาผลิตภัณฑ์ยาง และสาขาสิ่งทอ
3. อินโดนีเซีย สาขายานยนต์ และสาขาผลิตภัณฑ์ไม้
4. ฟิลิปปินส์ สาขาอิเล็กทรอนิกส์
5. สิงคโปร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาสุขภาพ
6. ไทย สาขาการท่องเที่ยวและสาขาการบิน
7. เวียดนาม สาขาโลจิสติกส์
ประโยชน์ที่ประเทศไทยจะได้รับจากการเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC
1. ขยายการส่งออกและโอกาสทางการค้า จาการยกเลิกอุปสรรคภาษีและที่มิใช่ภาษีจะเปิดโอกาสให้สินค้า เคลื่อนย้ายเสรี
2. คาดว่า การส่งออกไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัวได้ไม่ต่ำกว่า 18 - 20% ต่อปี
3. เปิดโอกาสการค้าบริการ ในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็ง เช่น ท่องเที่ยว โรงแรมและร้านอาหาร สุขภาพ ทำให้ไทยมีรายได้จากการค้าบริการไปต่างประเทศเพิ่มขึ้น
4. สร้างเสริมโอกาสการลงทุน เมื่อมีการเคลื่อนย้ายเงินทุนได้เสรียิ่งขึ้น อุปสรรคการลงทุนระหว่างอาเซียน จะลดลง อาเซียนจะเป็นเขตการลงทุนที่น่าสนใจทัดเทียมจีนและอินเดีย
5. เพิ่มพูนขีดความสามารถของผู้ประกอบการไทย เมื่อมีการใช้ทรัพยากรการผลิตร่วมกัน/เป็นพันธมิตรทางธุรกิจร่วมกับอาเซียน อื่น ทำให้เกิดความได้เปรียบเชิงแข่งขัน (Comparative Advantage) และลดต้นทุนการผลิต
6. เพิ่มอำนาจการต่อรองของไทยในเวทีการค้าโลก สร้างความเชื่อมั่นให้ประชาคมโลก
7. ยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศ ผลการศึกษา แสดงว่า AEC จะทำให้รายได้ที่แท้จริงของอาเซียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.3 หรือคิดเป็นมูลค่า 69 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ
ผลกระทบของประเทศไทยจากการเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC
1. การเปิดตลาดเสรีการค้าและบริการย่อมจะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมและผู้ประกอบการในประเทศที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันต่ำ
2. อุตสาหกรรมและผู้ประกอบการในประเทศต้องเร่งปรับตัว
ข้อเสนอแนะในการเตรียมตัวของไทยสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC
แนวทางที่ประเทศ ไทยควรเตรียมพร้อมเพื่อรองรับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นหากมีการรวมตัวเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC คือ ภาครัฐเองไม่ได้นิ่งนอนใจต่อผลกระทบที่จะเกิดขึ้น โดยเฉพาะกิจการ/อุตสาหกรรมที่ไม่มีความ พร้อมในการแข่งขัน โดยแผนงานรองรับผลกระทบที่ได้มีการดำเนินงานมาแล้ว ได้แก่
1. การจัดตั้งกองทุนเพื่อการปรับตัวของภาคการผลิตและบริการ ที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรี ทางการค้า (ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2550) เพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ผลิต และผู้ประกอบการสินค้าเกษตรแปรรูป สินค้าอุตสาหกรรม และบริการ ที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าให้สามารถปรับตัวหรือปรับเปลี่ยนให้ สามารถแข่งขันได้
2. มาตรการป้องกันผลกระทบ ก่อน หน้านี้ กระทรวงพาณิชย์ได้เสนอจัดทำกฎหมายซึ่งได้ผ่านสภานิติบัญญัติออกมาเป็น พรบ. มาตรการปกป้องการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น (Safeguard Measure) ซึ่งหากการดำเนินการตาม AEC Blueprint ก่อให้เกิดผลกระทบก็สามารถนำกฎหมายนี้มาใช้ได้
3. การจัดตั้งคณะอนุกรรมการดำเนินการตามแผนงานไปสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ตาม คำสั่ง กนศ. ที่ 1/2550 ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2550) เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานตามแผนงานและเตรียมการรองรับผลกระทบที่จะเกิด ขึ้นในการดำเนินงานไปสู่การเป็น AEC โดยมีปลัดกระทรวงพาณิชย์เป็นประธาน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)